คาถากันยักษ์ ตอนที่ ๑
พระพุทธเจ้าเหล่าใด ผู้ดับแล้วในโลก ทรงเห็นแจ้งแล้วตามความเป็นจริง พระพุทธเจ้าเหล่านั้นเป็นผู้ไม่ส่อเสียด เป็นผู้ยิ่งใหญ่ปราศจากความครั่นคร้าม เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย นอบน้อมพระพุทธเจ้าพระองค์ใด ผู้โคตมโคตร ทรงเกื้อกูลแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ทรงถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ยิ่งใหญ่ปราศจากความครั่นคร้าม
หญิงงามเมือง ผู้มีใจงาม
ชนบทกาสีมีส่วยประมาณเท่าใด ส่วยของเราก็มีประมาณเท่านั้น ชาวนิคมกำหนดราคาแคว้นกาสีแล้ว ตั้งราคาเราไว้ครึ่งหนึ่ง ของราคาแคว้นกาสี ภายหลังเราเบื่อหน่ายในรูป เมื่อเบื่อหน่ายจึงคลายกำหนัด เราอย่าพึงแล่นไปสู่ชาติสงสารอีกบ่อยๆ วิชชา ๓ เราทำให้แจ้งแล้ว เราได้ปฏิบัติคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว
จดหมายจากตัวแทนผู้นำชาวพุทธนานาชาติ
ในวันคุ้มครองโลกปีนี้ วัดพระธรรมกายได้ต้อนรับผู้นำชาวพุทธจากทั่วโลก เพื่อให้พุทธบริษัท 4 เป็นหนึ่งเดียวกัน เหมือนดวงตะวันที่มีดวงเดียว
วัดท่าพระ
วัดท่าพระเป็นวัดโบราณสันนิษฐานว่าสร้างในสมัยอยุธยาตอนปลายตั้งอยู่ในคลองมอญ เขตบางกอกใหญ่ ฝั่งธนบุรี วัดท่าพระมีพื้นที่ ๒๓ ไร่ เศษ แต่เดิมบริเวณวัดล้อมรอบด้วยคลองมอญ บางกอกใหญ่ และแม่น้ำเจ้าพระยา จึงเรียกกันว่าวัดเกาะ
บทความให้กำลังใจ ตอนที่ 4
บทความให้กำลังใจ ตอนที่ 4 กลอนให้กำลังใจ ข้อคิดดีๆ อ่านแล้วมีกำลังใจในทุกๆ เรื่อง กำลังใจเรื่องงาน เรื่องความรัก เรื่องชีวิต กลอนให้กำลังใจ เป็นกำลังใจในทุกๆ จังหวะของชีวิต
ผู้มีราตรีเดียวเจริญ
บุคคลไม่ควรคำนึงถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว ไม่ควรมุ่งหวังสิ่งที่ยังไม่มาถึง สิ่งใดล่วงไปแล้ว สิ่งนั้นก็เป็นอันละไปแล้ว และสิ่งที่ยังไม่มาถึงก็เป็นอันยังไม่ถึง ก็บุคคลใดเห็นแจ้งธรรมปัจจุบันไม่ง่อนแง่นไม่คลอนแคลนในธรรมนั้น ๆ
ทานของสัตบุรุษ
สัตบุรุษย่อมให้ทานด้วยศรัทธา (ทำให้มั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก และเป็นผู้มีรูปสวยงาม น่าดู น่าเลื่อมใส ประกอบด้วยผิวพรรณงามยิ่งนักในที่ที่ทานนั้นเผล็ดผล (บังเกิดขึ้น))
รีบทำเสียเถิดก่อนจะสายเกินไป
บุคคลใดไม่คำนึงถึงหนาวร้อน อดทนให้เหมือนหญ้า ทำกิจที่ควรทำด้วยเรี่ยวแรงของลูกผู้ชาย บุคคลนั้นย่อมไม่เสื่อมจากความสุข
ทำอย่างไรจะได้ไม่เกิดมาเป็นคนพิการ
เมื่อพูดถึงความพิการ หลายคนอาจรู้สึกสงสารผู้ที่เกิดมาพิการ แต่คนพิการบางคนกลับให้กำลังใจเราดียิ่งกว่าคนที่มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงเสียอีก เพราะเขามีแนวคิดการใช้ชีวิตที่พิเศษ
ครุกรรม (๒)
ผู้ใดไม่มีกรรมที่ทำชั่วทางกาย ทางวาจา และทางใจ เราเรียกผู้นั้น ซึ่งสำรวมดีแล้ว โดยฐานะทั้งสามว่าเป็นพราหมณ์