อนภิรติชาดก ชาดกว่าด้วยจิตขุ่นมัว ไม่ขุ่นมัว
ความสำเร็จในมรรคผล การบรรลุญาณสมาบัติของผู้ปฏิบัติกรรมฐานนั้น เกี่ยวข้องด้วยความสมถะสันโดษหลุดพ้นจากกิเลสอันอยากได้อยากมีเป็นอย่างยิ่ง ผู้ปฏิบัติภาวนา แม้สำเร็จญาณระดับใดแล้วก็ตาม แต่หากรับเอาอาสวะกิเลสเข้าจิตใจ แม้น้อยนิด ญาณวิเศษที่พากเพียรมา ก็จักเสื่อมลงถดถอยลงสิ้น
ผู้มีปัญญา
ปัญญา หมายถึง ความฉลาด ความรอบรู้ ความเข้าใจชัดในสิ่งต่างๆ ผู้มีปัญญาย่อมรู้จักผิดชอบชั่วดี รู้จักบาปบุญคุณโทษ รู้จักเหตุผล คือ รู้จักสืบสวนจากผลไปหาเหตุ และจากเหตุไปหาผล
มหาเศรษฐีกากวฬิยะ
ภิกษุทั้งหลาย บาปกรรมแม้ประมาณน้อยที่บุคคลบางคนทำแล้ว บาปกรรมนั้น ย่อมนำเขาไปนรกได้ บาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียวกันนั้น บางคนทำแล้ว กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรมที่ให้ผลในภพปัจจุบัน
ความโกรธทำให้เสียประโยชน์
คนผู้โกรธย่อมประพฤติในสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ ย่อมไม่รู้จักความเจริญ ย่อมมีภัยที่เกิดขึ้นแล้วในภายใน แต่คนผู้โกรธนั้นย่อมไม่รู้สึก เพราะคนโกรธย่อมไม่รู้อรรถ ไม่เห็นธรรม และย่อมขาดสติ จึงพลั้งพลาดไปก่อกรรมทำเข็ญ ภายหลังเมื่อหายโกรธแล้ว เขาย่อมเดือดร้อนเหมือนถูกไฟไหม้
ภิกษุผู้ยังป่าให้งาม
พร้อมพระสาวกเถระทั้งหลาย พระสารีบุตรถามพระอานนท์ พระเรวตะ พระอนุรุทธะ พระมหากัสสปะ พระมหาโมคคัลลานะ ว่าป่าโคสิงคสาลวันจะพึงงามด้วยภิกษุเช่นไร
ออกแบบชีวิตด้วยตนเอง (๑)
นักปราชญ์ทั้งหลายกล่าวว่า ทานและการรบมีผลเสมอกัน พวกวีรบุรุษแม้มีน้อย ย่อมชนะคนขลาดที่มีพรรคพวกมากได้ ถ้าบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมอยู่ ย่อมให้สิ่งของแม้น้อยได้ เพราะฉะนั้นแล ทายกนั้นย่อมเป็นผู้มีความสุขในโลกหน้า
ผู้ฉลาดในการสอน
ดูก่อนราหุล สมณธรรมของบุคคลผู้ไม่มีความละอายในการกล่าวมุสาทั้งรู้อยู่ก็เป็นของที่คว่ำเสียแล้วเหมือนกันฉะนั้น
ชี้ทางก็ได้บุญ
เมื่อก่อนเรากำพร้า เลี้ยงชีพโดยความลำบาก เราไม่มีอะไรจะให้ทาน เรือนของเราอยู่ใกล้เรือนของเศรษฐี พวกวนิพกถามถึงเรือนเศรษฐีกะเรา เราได้ชี้ทางบอกเรือนของเศรษฐี ฝ่ามือของเราจึงให้สิ่งที่น่าปราถนา ผลบุญย่อมสำเร็จที่ฝ่ามือของเรา
จะเชื่อตอนเป็นหรือจะเห็นตอนตาย
บุคคลผู้ทำบาปย่อมเดือดร้อนในโลกนี้ ย่อมเดือดร้อนในโลกหน้า ย่อมเดือดร้อนในโลกทั้งสอง บุคคลผู้ทำบาปนั้นย่อมเดือดร้อนว่า บาปอกุศลเราได้ทำไว้แล้ว บาปนั้นย่อมนำเขาไปสู่ทุคติ ทำให้เดือดร้อนอย่างยิ่ง
อานิสงส์เลือกทำทานถูกเนื้อนาบุญ
บุคคลให้ทานในเขตใดแล้วมีผลมาก พึงเลือกให้ทานในเขตนั้น การเลือกให้ พระสุคตทรงสรรเสริญ ทานที่บุคคลให้แล้วในทักขิไณยบุคคลทั้งหลายย่อมมีผลมาก เหมือนพืชที่หว่านลงในนาดี ฉะนั้น
อานิสงส์รักษาอุโบสถศีลครึ่งวัน
กามแม้น้อย ก็ไม่พอแก่มหาชน มหาชนย่อมไม่อิ่มในกามแม้มาก น่าสลดใจที่พวกคนพาลพากันบ่นว่า รูป เสียงเหล่านี้ จงมีแก่เรา กุลบุตรผู้ประกอบด้วยความเพียร พึงเว้นให้ขาดเถิด
กลอนวันแม่ กลอนวันแม่สั้นๆ ซึ้งๆ จากใจลูกน้อย
รวมบทกลอนวันแม่เนื่องในวันแม่แห่งชาติ 2565 ซึ่งเป็นกลอนวันแม่สั้นๆ แต่ซึ้ง คํากลอนแด่แม่ผู้เป็นที่รักมอบจากใจลูกในโอกาสวันแม่แห่งชาตินี้
จุลลกเศรษฐี-ชาดกว่าด้วยความฉลาดในการสร้างฐานะ
ในสมัยพุทธกาลขณะที่องค์พระบรมศาสดาทรงสอดส่องพระพุทธญาณ ณ วัดชีวกัมพวัณ กรุงราชคฤห์เพื่อโปรดเวไนยสัตว์ผู้ตกทุกข์ดังที่ทรงบำเพ็ญอยู่เป็นนิจ พลันสายพระเนตรทรงเห็นภิกษุหนุ่มจุลลปัณฐกะที่ท้อถอยสิ้นความเพียร เนื่องด้วยมีสติปัญญาทึบ
กลับมานับถือพระรัตนตรัยแล้วครับ
โครงการจัดกิจกรรมสวดมนต์ ปฏิบัติธรรมและ ฟังธรรม เพื่อเป็นการปลูกฝังศีลธรรมในกลุ่มคนทุกระดับให้มีสัมมาทิฐิ มีความรักใคร่ปรองดอง
กฐินฯ เบลเยี่ยม ญี่ปุ่น นครนายก สระแก้ว
ลูกพระธัมฯ ประเทศเบลเยี่ยม ญี่ปุ่น และลูกพระธัมฯ จังหวัดนครนายก สระแก้ว พร้อมใจกันทำหน้าที่สุดชีวิต ปิดแผ่นทอง
ไม่อาจรอได้
“ต่อไปวันข้างหน้าถ้าไม่มีพระภิกษุสงฆ์อยู่แล้ว จะไปอบรมใคร สอนใคร ปกครองใคร ถ้าเราไม่มีทายาท พระพุทธศาสนาก็ตายไปกับเราอย่างแน่นอน ”
มงคลที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ - ผู้ดื่มรสแห่งธรรม
ภิกษุผู้ที่เล่าเรียนพระปริยัติธรรมเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถตอบได้แม้แต่ข้อเดียว จึงนั่งก้มหน้านิ่งอยู่ ส่วนภิกษุผู้ปฏิบัติธรรมจนเป็นพระอรหันต์ สามารถตอบปัญหาธรรมได้ทุกข้อ อย่างแจ่มแจ้งฉะฉานไม่มีติดขัด พระพุทธองค์จึงทรงสรรเสริญ ชื่นชม อนุโมทนาสาธุการพระเถระ
ตาบอด...กลับมาเห็นได้
พอกลับไปบ้าน งานนี้เรียกได้ว่า อึ้ง...ทึ่งไปตามๆกัน ชาวบ้านแถวนั้นงงกันเป็นไก่ตาแตก ชวนกันมาดู มาหา ด้วยความสงสัยว่า ทำไม ทำอย่างไร แม่น้อยถึงมองเห็นได้เหมือนเดิม แม่น้อยก็ตอบไปว่า “ไปทำบุญที่วัดพระธรรมกายมา หลวงปู่...ท่านช่วยรักษาให้” ทำให้ชาวบ้านแถวนั้นเกิดความอัศจรรย์ใจ และรู้สึกศรัทธาตามไปด้วย
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - คุณสมบัติของคนดี
แม้จะได้รับตำแหน่งอันทรงเกียรติเชนนั้น พระสารีบุตร ก็ไม่เคยลืมบุญคุณของพระอัสสชิซึ่งเป็นครูบาอาจารย์องค์แรก เวลาก่อนจำวัด ไม่ว่าจะเดินทางไปพักอยู่ที่ใดก็ตาม ท่านจะตามระลึกถึงพระอัสสชิเถระผู้เป็นอาจารย์เสียก่อน เมื่อทราบว่าพระอาจารย์พำนักอยู่ทางทิศใด จะจำวัดหันศีรษะไปทางทิศนั้น เป็นการแสดงความเคารพต่ออาจารย์
มงคลที่ ๒๓ มีความถ่อมตน - พระทัพพมัลลบุตร (๓)
จากเรื่องนี้ เราจะเห็นได้ว่า แม้เราจะทำหน้าที่อย่างสมบูรณ์ที่สุด ก็อาจเกิดการเข้าใจผิดกัน ไม่เว้นแม้กระทั่งพระอรหันต์ผู้หมดกิเลสแล้ว ฉะนั้น การเข้าใจผิดจึงเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ง่าย และพร้อมจะเกิดขึ้นเสมอในสังคมโลกปัจจุบัน เรื่องราวที่เกิดขึ้นนี้ พวกเราทุกคนควรนำไปเป็นข้อคิดว่า